เจฟฟรีย์ แซ็คส์ – จีนเป็นประเทศสันติสุข?
Is China a
Peaceful Country? Jeffrey Sachs Explains
https://youtu.be/SM3yENjvlSk?si=r6TTOn7aPx2EbZAz
อะไรที่ผมได้พูดและผมจะพูดอีกครั้ง
ท่านเอกอัครราชทูต, ก็คือว่า ญี่ปุ่นและจีน และเกาหลี
ควรที่จะเพิ่มการทูตกันมากขึ้น และไม่ถูกแบ่งแยกจากกันโดยสหรัฐอเมริกา
ในการนี้. (What I said there and I’ll say again Mr. Ambassador, is
that Japan and China and Korea should increase the diplomacy and not be divided
by the United States in this.)
และผมได้ชี้อะไรบางอย่างออกมา
ถ้าผมจะทำได้, ด้วยความเคารพ, ใน 2,000 ปีแล้ว จีนไม่เคยบุกรุกญี่ปุ่นแม้แต่ครั้งเดียว.
เชิงอรรถสองชุด, ในปี 1274 และ 1281 พวกมองโกล เมื่อพวกเขาได้เข้ามาปกครองจีน
ได้พยายามที่จะบุกรุกญี่ปุ่น และคามิกาเซ่ก็เอาชนะได้ทั้งสองครั้งต่อกองทัพเรือมองโกล.
(And I pointed out something if I
may with all respect, in 2,000 years China never invaded Japan not once. Two
footnotes in 1274 and 1281 the Mongols when they were in
control of China tried to invade Japan and the kamikaze win both times to
defeat the Mongol fleets.)
แต่อื่นใดไปกว่านั้น
จีนไม่ได้เคยได้บุกรุกญี่ปุ่นเลย, ไม่เคยแม้แต่พยายามบุกรุกญี่ปุ่น.
ญี่ปุ่นเองด้วซ้ำที่โชคไม่ดีได้พยายามที่จะบุกรุกจีนสองสามครั้ง.
ครั้งแรกที่ปรากฏให้เห็นคือในปี 1592 เมื่อฮิเดโยชิ ผู้สำเร็จราชการในสมัยนั้น
ได้เป็นบ้าขึ้นมาและได้ตัดสินใจที่จะยึดครองโลก เริ่มต้นด้วยการบุกรุกเกาหลีนั่นเป็นการโหมโรงของการบุกรุกจีน,
เขาล้มเหลว. ดังที่พวกคุณรู้และได้ตายลงในปี 1598. (But
other than that China never invaded Japan, never try to invade Japan, Japan unfortunately
tried to invade China a few times. The first time apparently was 1592 when
Hideyoshi1 the
regent of the time went mad and decided to take over the world starting with an
invasion of Korea that was prelude to invading China, he failed. As you know
and died in 1598.)
และแล้ว ญี่ปุ่น ได้บุกรุกจีนอีกหลายครั้ง เอ่อ
เริ่มต้นจากปี 1894 เอ่อ จนผ่านมาถึงสงครามโลก ครั้งที่ 2. และมีหนังสือที่ลึกซึ้งกินใจมากเล่มหนึ่ง
เอ่อ ที่จริงแล้วเขียนโดยสหายร่วมงานผู้ยิ่งใหญ่ของผมท่านหนึ่งและเป็นครูของผมคือ เอซรา
โวเกล ผู้ที่คุณคงต้องรู้จัก. เอซรา โวเกล เป็นนักวิชาการผู้ยิ่งใหญ่ในเรื่องของทั้งจีนและญี่ปุ่น,
เขาเสียชีวิตไปเมื่อสองสามปีที่ผ่านมา. แต่หนังสือเล่มสุดท้ายที่ชื่อว่า “จีน และ
ญี่ปุ่น ประวัติศาสตร์การเผชิญหน้า”, และเขาได้บอกว่า, ฉันรักทั้งสองประเทศ,
แต่พวกเขาไม่ไปด้วยกันดีๆนักเลย. ดังนั้น, ฉันจึงต้องการเขียนประวัติศาสตร์ของความสัมพันธ์ฉันญาติของทั้งสองประเทศนี้.
(And then Japan invaded China
several times uh starting from 1894 uh up through World War II. And there’s a
very poignant book uh actually by a great colleague of mine and a teacher Ezra
Vogel2 whom you must have known. Ezra Vogel
was a great scholar of both China and Japan, he dies a few years ago. But his
last book was called China and Japan Facing History, and he said, I love
both countries, but they don’t get along that well. So, I want to write the
history of the relations of the two countries)
2 https://en.wikipedia.org/wiki/Ezra_F._Vogel
และความสัมพันธ์ฉันญาติมิตรทั้งหลายกำลังติดตามมา,
ดังเช่นเป็นทั้งสองของกันในอารยธรรมขงจื้อ, พวกเขาได้อยู่ที่สันติสุขมากว่า
2 พันปีอันน่าทึ่ง, คิดถึงบริเทนกับฝรั่งเศส,
พวกเขาได้อยู่ที่สงครามมามากกว่า 2 พันปี. อย่างแท้จริงชัดเจน,
ทุกปีในหลายร้อยปีเหล่านั้น, ในบางครั้ง. (And the
relations are the following, as the two as two Confucian civilizations, they
were at peace for most of 2 millennia amazing, think of Britain and France,
they were at war for most 2 millennia. Literally, every year for hundreds of
years, sometimes.)
แต่จีนและญี่ปุ่น ไม่เลย,
พระภิกษุจะมาและพวกเขาก็นำเอาคัมภีร์ศาสนาทั้งหลายกลับไป
พวกเขาทำกันอยู่ทั้งหมดอะไรเช่นนั้น, แต่พวกเขาไม่ได้ทำสงครามกัน.
อื่นๆนอกไปจากตัวอย่างทั้งหลายที่ผมได้เพิ่งให้กับพวกคุณไป, และจากปี 1368
จนกระทั่งถึงปี 1839, ไม่มีสงครามใดเลยระหว่างจีนและญี่ปุ่น
นั่นคือจากการเริ่มต้นแห่งราชวงศ์หมิง มาจนการมาถึงของพวกบริติชในแม่น้ำมุกด์ในเริ่มแรกของสงครามฝิ่น.
(But
China and Japan no, the monk would come and they would bring back calligraphy
they would do all sorts of things, but they weren’t at war. Other than the
examples that I just gave, and from 1368 until 1839, there was no war between
China and Japan that’s from the beginning of the Ming Dynasty to the arrival of
the British in the Pearl River3
in
the first Opium War4.)
4
http://www.cuti.chula.ac.th/triresearch/hongkongport/poppy.html
ไม่มีสงครามอื่นใดมากไปกว่าที่
มร. ฮิเดโยชิที่ได้เกิดบ้าคลั่งขึ้นมาในระยะสั้นๆ เอ่อ
ออกนอกลู่นอกทางไปบ้าง, อะไรอื่นมากไปกว่านั้นก็คือไม่มีสงคราม.
มันเป็นอะไรที่ในบางครั้งเรียกสันติสุขแบบขงจื้อ.
เพราะว่าได้มีระบบความสันติสุขเป็นพื้นฐานของการค้าขาย,
มีเครื่องบรรณาการบ้างที่เป็นเหมือนเชิงสัญลักษณ์แต่ก็คือความสันติสุขอย่างสมบูรณ์. (No war other than Mr. Hideyoshi going
mad in a brief uh escapade, other than that no war. It’s sometimes called the
Confucian peace. Because there was a system but it was basically a peaceful
system of trade, some tribute which was symbolic but completely peaceful.)
แล้วก็มาถึงพวกบริติช, แล้วก็มาถึงสงคราม,
แล้วก็มาถึงปาฏิหาริย์การพัฒนาเศรษฐกิจของญี่ปุ่น โดยการฟื้นฟูสมัยเมจิ,
ที่ได้เริ่มต้นในปี 1868. และญี่ปุ่นได้ทำบางอย่างที่ชาญฉลาดเลิศอย่างสมบูรณ์สิ้น,
มันได้ส่งปฏิบัติการของรัฐมนตรีผู้นำทั้งหลายออกไปทั่วโลก,
เพราะว่าตอนนั้นคุณยังไม่มีซูมใช้งาน. และเช่นนั้นเอง,
พวกเขาได้ไปทั่วโลกราว 18 เดือนที่เรียกว่าภารกิจอิคามูระ.
และพวกเขาไกด้ศึกษาถึงว่าใครคือผู้ที่เป็นเลิศที่สุดในทุกๆด้าน. (Then
came the British, then came war, then came Japan’s astoundingly successful
economic development starting with the Meiji Restoration5, which
started in 1868. And Japan did something completely brilliant, which was in
1871, it sent a mission of leading ministers around the world, because you
couldn’t Zoom then. And so, they went around the world for 18 months called the
Iwakura Mission. And they studied who does the best of everything.)
5 https://en.wikipedia.org/wiki/Meiji_Restoration
และพวกเขาก็กลับมา,
และพวกเขาก็ดำเนินการอย่างสันติสุขทั้งหมดนั้น, ใครผู้ที่ได้ทำธนาคารกลางดีที่สุด,
ใครผู้ที่มีรัฐธรรมนูญดีที่สุด, ใครผู้ที่ได้มีมหาวิทยาลัยดีที่สุด,
ใครผู้ที่ได้มีอะไรดีที่สุดกองทัพดีที่สุด และอื่นๆทั้งหลาย.
และพวกเขาได้นำเอาแบบจำลองทั้งหมดนั้นมาและปรับประยุกต์ใช้เข้ากับพวกเขาอย่างน่าจดจำด้วยการกบถเล็กๆหนึ่ง
นั่นคือการกบถซัตสึมะในปี 1877, อะไรอื่นนอกจากนั้นคือ, สันติสุข. (And
they came back, and they peacefully implemented all of that, who made the best
central bank, who has the best constitutional, who has the best universities,
who has the best of each the best army and so on. And they took all the models and
adopted them remarkably with one little rebellion that’s Satsuma rebellion in
1877, other than that, peace.)
มันได้เป็นการเปลี่ยนรูปอย่างมีผลสำเร็จอันมากยิ่งและญี่ปุ่นก็ได้กลายเป็นประเทศอุตสาหกรรม,
แต่นี่คือประเด็นของผม. และด้วยการเป็นประเทศอุตสาหกรรม ญี่ปุ่นก็บุกเข้าโจมตีจีนในปี
1884 และสองผู้นำทางการทูต, จีนและญี่ปุ่นได้พบประชุมกันและกัน และเอซรา
โวเกลบอกเล่าถึงประวัติศาสตร์นี้ในหนังสือของเขา. และทูตของจีนก็เศร้าสลดถามไปว่า
ทำไมคุณถึงต้องบุกโจมตีเรา, เราเป็นคนเอเชียด้วยกัน,
เรากำลังถูกบุกรุกเข้ามาโดย...โดยพวกยุโรเปียนทั้งหลาย. ทำไมคุณถุงบุกโจมตีเรา
และทูตญี่ปุ่นได้บอกว่า, ผมเสียใจแต่เราได้เข้าร่วมกับสโมสรของพวกเขานั่นอ่ะ
หะหะหะ นั่นชัดเจนถูกต้องอย่างยิ่งในการกล่าวอ้างเช่นนั้น เอ่อ
คุณก็รู้ดี. ญี่ปุ่นได้เป็นอุตสาหกรรม เอ่อ และดังนั้นมันจึงได้เข้าร่วมกับสโมสรจักรวรรดินิยมไปชั่วขณะนั้น.
(It
was the most successful transformation and Japan industrialized, but here’s my
point. Upon industrializing Japan attack China in 1894 and two of the leading
diplomats, Chinese and Japanese met each other and Ezra Vogel tells this story in
the book. And the Chinese diplomat is crestfallen why do you attack us, we’re
Asian, we’re invading by …by the Europeans. Why did you attack us and the
Japanese diplomat says I’m sorry but we’ve joined their club ha ha that
literally the quotation uh and uh you know. Japan industrialized uh and so it
joined the imperial club for a while.)
ตอนนี้, เราอยู่ในปี 2025, มันเป็นเวลาสำหรับญี่ปุ่นและจีนที่จะพูดว่า
เราอยู่ร่วมกันในการนี้, เราไม่ได้มีความจำเป็นใดในฐานทัพอเมริกันทั้งหลาย.
เราไม่มีความจำเป็นใดๆที่จะถูกแบ่งแยกโดยคนภายนอกทั้งหลาย. ไม่มีเหตุผลใดๆ,
ไม่มีการข่มขู่ใดๆ, จีนไม่ได้กำลังจะบุกรุกญี่ปุ่นในช่วงเวลาใด. ไม่ได้มีการข่มขู่ใด.
(Now, we are in 2025, it’s time
for Japan and China to say we’re together on this, we don’t need American
military bases. We don’t need to be divided by outsiders. There’s no reason,
there’s no threat, China’s not going to invade Japan period. There’s just no
threat.)
และในมุมมองของผมคือแค่ความลับเล็กๆสำหรับพวกคุณทั้งหมด
ถ้าคุณทั้งหมดได้เข้าร่วมกันทั้งหมด คุณอย่างแน่นอนที่สุดว่าจะเป็นผู้นำทรงอิทธิพลของโลกเศรษฐกิจ
หะหะหะ. จะไม่มีใครเปรียบเทียบได้เลย. ถ้าคุณจับมือร่วมกันได้ด้วย ทักษะของญี่ปุ่น,
ทักษะของเกาหลี, ทักษะของจีน. ทักษะของเอเซียน,
โอ้ พระเจ้าช่วย, ไม่มีใครอย่างน่าเป็นไปได้เลยที่จะแข่งขันได้. (And my
view is just a little secret for all of you if you all get together you
absolutely will dominate the world economy ha ha. There
won’t even be a comparison. If you put together Japanese skill, Korea skill,
Chinese skill. ASEAN skill, oh my god, no one could possibly compete.)
มันเป็นทั้งหมดนั่น มันน่าจะเป็นที่น่ารังเกียจเล็กน้อยสำหรับพวกเราที่เหลือ
แต่ เอ่อ, แต่โดยความจริงแท้แล้ว, ทำไมพวกคุณต้องถูกแบ่งแยกกันอีกต่อไปล่ะ เย้.
ดังนั้น, เรื่องนี้กับจิตใจผมแล้วคือความเป็นจริง เอ่อ เป็นข้อเสนอแนะอันแท้จริง
และที่จะนำมันมาสู่การทดลองทดสอบ, การทูตคือกุญแจหลักและการทูตก็หมายถึงการพูดคุยกัน.
(It’s
all it would be a little nasty for the rest of us but uh, but truly why are you
divided anymore yeah. So, this to my mind is the real uh is the real suggestion
and to put it to a test, diplomacy is the key and diplomacy means talking.)
และผมอยากที่จะให้รัฐมนตรีของญี่ปุ่นที่จะบอกกับท่านหวัง
ยี่ ว่า, นี่นะ, คุณตัวใหญ่. คุณ 10 เท่าใหญ่กว่าที่เราเป็น, เราจะสามารถอยู่รอดปลอดภัยได้อย่างไร?
และผมอยากจะได้ยินท่านหวัง ยี่ ตอบกับคำถามนั่น เอ่อ,
เพราะว่านั่นน่าจะเป็นคำถามที่ดีมากที่จะถาม. และผมก็อยากจะให้พวกยุโรเปียนที่จะไปที่
มร. ปูติน และพูดว่า, นี่นะ, เรารู้ได้สึกเป็นอันตราย, คุณสามารถจะทำให้เรารู้สึกดีขึ้นกว่านี้ได้อย่างไร
ว่าคุณไม่ได้กำลังจะบุกรุกบางประเทศอื่นภายหลังจากยูเครน. (And I would like Japan’s
minister to say to Wang Yi, look, you’re big. You’re 10 times larger than we
are, how can we be safe? And I’d to hear Wang Yi’s answer to that uh, because
that would be a very good question to ask. And I would like the Europeans to go
to Mr. Putin and say, look, we feel endangered, how can you make us feel better
that you’re not going to invade some other country after Ukraine.)
และผมอยากได้ยินคำตอบต่อคำถามนั่น เพราะว่ามันเป็นคำถามที่คือแก่นสำคัญ,
ผมไม่ได้กังวลเกี่ยวกับมัน, จะว่าไปแล้วด้วย 100 เหตุผลทั้งหลาย,
แต่มันเป็นคำถามที่สวยงามที่จะถูกถาม. อะไรที่ไม่ถูกต้องก็คือการยืนอยู่ทางด้านข้างแล้วพูดว่า,
แกคือศัตรู, เราสร้างกองทัพของเราขึ้นมาแล้ว เอ่อ. เราทำเช่นนี้โดยปราศจากแม้กระทั่งความพยายามทางการทูต.
(And I’d like to hear the answer
to that because it’s a valid question, I’m not worried about it, by the way for
100 reasons, but it’s a fair question to ask. What’s not right is to stand at
the sideline saying, you’re an enemy, we build up our military uh. We do this
without even trying the diplomatic approach.)
การทูตต้องการโต๊ะตัวหนึ่งกับเก้าอี้สองตัว.
กองทัพต้องการเงิน 1 ล้านล้านดอลลาร์ต่อปี, อันไหนล่ะที่คุณคิดว่ามันควรจะทำกัน. (Diplomacy requires a table and
two chairs. The military requires $1 trillion a year, which do you think is the
better deal.)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น