หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2568

ริชาร์ด จ เมอร์ฟี – เกือบทั้งหมดของการสอนเรื่องเศรษฐศาสตร์, และที่บอกเราเรื่องการเมือง, เป็นขยะทั้งสิ้น

ริชาร์ด จ เมอร์ฟี – เกือบทั้งหมดของการสอนเรื่องเศรษฐศาสตร์, และที่บอกเราเรื่องการเมือง, เป็นขยะทั้งสิ้น

Almost all the economics taught, and which informs our politics, is completely rubbish

          https://youtu.be/dc1egz5Om90?si=HLTO33exHZiQbfrX

(ริชาร์ด เมอร์ฟีย์ (เกิดเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 1958) เป็นอดีตนักบัญชีและนักเศรษฐศาสตร์การเมือง ชาวอังกฤษ จำเป็นต้องอ้างอิง ]ซึ่งรณรงค์ในประเด็นการหลีกเลี่ยงภาษีและการเลี่ยงภาษี[ 1 ]เขาให้คำปรึกษาแก่สหภาพแรงงานแห่งสภาคองเกรสเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์และภาษี และก่อตั้งTax Justice Networkเขาเป็นศาสตราจารย์ด้านการบัญชีที่University of Sheffield Management School)

          เมื่อหลายปีก่อนผ่านมาแล้ว, ผมได้ไปเจอกับคำย่ออันหนึ่ง. คำย่อที่คือขยะ. และมันย่อมาจากการประมาณอย่างขยะสมบูรณ์สิ้นของความเป็นจริง.  (A number of years ago, I came up with anacronym1. The acronym was crap. And it stands for completely rubbish approximation to the truth.)

          1https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%AD

          เศรษฐศาสตร์นั้นกำลังใช้คำย่อนั่นย, ขยะอย่างสมบูรณ์สิ้น. ผมเสียใจที่ต้องบอกกับคุณเช่นนั้น เพราะว่าทุกวันนี้ผู้คนพูดคุยกับคุณถึงเศรษฐกิจบนวิทยุ, บนโทรทัศน์, ในสื่อใหม่ใดที่คุณมองที่มัน, บนสื่อสังคม, และส่วนมากที่สุดของอะไรที่พวกเขากำลังพูดคุยก็คือขยะอย่างที่สุด. และมีเหตุผลที่ดีสำหรับผมในการพูดเช่นนี้.  (An economics is using that acronym, completely crap. I’m sorry to tell you that because everyday people talk to you about economics on the radio, on the television, in any new media you look at, on social media, and most of what they’re talking is also total crap. And there’s a good reason for me saying this.)

          เศรษฐศาสตร์หลักที่ได้สอนกันในทุกวันนี้, ดังที่ถูกเชื่อโดยนักการเมืองทั้งหลายและนักเศรษฐศาสตร์ทั้งหลายในทุกวันนี้, และดังที่ได้ถูกทวนซ้ำกันในสื่อ, คือขยะ เพราะมันทั้งหมดได้เป็นพื้นฐานอยู่กับสมติฐานผิดๆทั้งหลายที่เป็นอันตรายอย่างยิ่ง. และผมคิดว่าผมได้มีหน้าที่ที่ต้องบอกแก่คุณว่า โดยมูลฐานแล้วเศรษฐศาสตร์ที่เราได้ถูกสอนมา และซึ่งได้ถูกใช้ในการพิจารณาแนวความคิดว่า ตลาดทั้งหลายคือหนทางที่ดีที่สุดที่จะจัดสรรทรัพยากรทั้งหลายในสังคมที่ได้ขึ้นอยู่กับลำดับชุดทั้งหลายของความเท็จปลอม.  (The vast majority economics as taught today, as believed by politicians and economists today, and as repeated in the media, is rubbish because it’s all based upon false assumptions which are profoundly harmful. And I think I got a duty to tell you that fundamentally the economics that we are taught and which is used to justify the idea that markets are the best way to allocate resources in our society is based of a series of falsehood.)

อภิมหานิยายก็คือว่าโลกนี้เป็นสิ่งแน่นอนชัดเจน. เรารู้กัดีในทุกสิ่งทุกอย่าง. เราไม่ได้เปลี่ยนจิตใจทั้งหลายของเรา. เราสามารถที่จะบอกอนาคตได้และไม่ต้องสงสัยเลยเกี่ยวกับว่าอะไรจะบังเกิดขึ้นในจณะนั้น. ถ้าเราไปยังที่ตลาด, จะอะไรก็ตามที่ตลาดนั่นอาจจะเป็น, เราสามารถได้รับข้อมูลข่าวสารกับผลิตภัณฑ์และการบริการทั้งหลายทั้งหมด ที่มีอยู่ให้เราและราคาสินค้าทั้งหลายและตรงต่อความจำเป็นต้องการของเราและคิดออกมาได้ถึงทางเลือกของผลลัพธ์นั้น.  (The great fiction is that the world is certain. We know everything. We don’t change our minds. We are able to tell the future and there is no doubt about what will happen that moment. If we go to the marketplace, whatever the marketplace might be, we can obtain informational on all the products and services that are available to us and the prices and match those against our needs and come up with an optional outcome.)

และผมสามารถยืนยันให้คุณมั่นใจได้ว่าสมมติฐานนี้ที่นักเศรษฐศาสตร์ทั้งหลาย ต้องทำให้ดูเหมือนกับว่าการทำงานทั้งหลายเชิงคณิตศาสตร์ของพวกเขานั้นเป็นขยะอย่างที่สุดและเต็มที่. คุณรู้นั่นดี, ผมรู้นั่นดี, ทุกคนบนโลกนี้รู้นั่นกันดี. แต่แทนที่เช่นนั้น, นักเศรษฐศาสตร์ทั้งหลายได้สร้างแบบจำลองทางเศรษฐกิจของพวกเขาทั้งหลายขึ้น บนพื้นฐานของความเพ้อฝันนี้. อย่างไม่น่าแปลกใจใด, แบบจำลองทั้งหลายเหล่านั้นใช้กการไม่ได้ แล้วเราก็จบลงด้วยเศรษฐกิจห่วยๆที่ได้ถูกสร้างขึ้นมาบนพื้นฐานของสมมติฐานห่วยๆนี้ ซึ่งได้กลายเป็นเชื้อเพลิงให้กับนักการเมืองทั้งหลาย ที่เชื่อว่านี้คือความสัจจริง และผลลัพธ์ที่ออกมาก็คือขยะอย่างที่สุด.  (And I can assure you this assumption which economists have to make so that their maths works is total and utter rubbish. You know that, I know that, everybody on earth knows that. But despite that, economists build their economic models on the basis of this fantasy. Unsurprisingly, those models don’t work and we end up with a crap economy built on the basis of this crap assumption which is in turn fueling crap politics which believe that this is true and the outcome is total crap.)

พูดอีกอย่างอื่น, เรามีบางอย่างที่ประมาณว่าใกล้เคียงเพียงเล็กน้อยต่ออะไรบางอย่างที่เป็นประโยชน์ เมื่อเรารู้ว่าเราสามารถที่จะมีอะไรบางอย่างที่ดีกว่านี้ได้. และเราได้รู้ว่า เราสามารถที่จะมีบางอย่างที่ดีกว่ากันมาเป็นเวลานานมากแล้ว. ความคิดที่ว่าโลกมีความไม่แน่นอนได้อุบัติขึ้นมาอยู่กว่าหนี่งศตวรรษในตอนนี้. (In other words, we have something which only vaguely approximates to something useful when we know we could have something better. And we’ve known that we could have something better for a very long time. The idea that there is uncertainty in the world has existed for over a century now.)

ผู้นำเสนอในตอนเริ่มแรกอันยิ่งใหญ่ที่สุดของเรื่องนี้ก็น่าจะเป็น ท่านลอร์ด เคย์นสิ์, จอห์น เมย์นาร์ด เคย์นสิ์.  ดังที่เขาได้เป็นแนวหน้ามาตลอดของชีวิตเขา, ผู้ที่ในความเห็นของผมคือ นักเศรษฐศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของศตวรรษ 20. และเขาได้เขียนถึงเรื่องนี้ในยุคปี 1920 จากพื้นฐานในงานของบางคนอื่นๆ, ผมควรจะพูดว่า, ผู้ที่มาก่อนเขาในระยะสั้นๆ. แต่อะไรที่เขาได้ชี้ออกมานั้นคือ โลกนี้ไม่แน่นอน. และมีความแตกต่างกันระหว่างโลกที่แน่นอนและโลกที่ไม่แน่นอน เป็นที่แน่ชัดสมบูรณ์สุดอย่างใหญ่หลวง. ในโลกที่แน่นอน, คุณก็รู้ว่าอะไรคือผลลัพธ์ทั้งหลายทั้งหมดที่มีต่อการตัดสินใจว่าที่คุณอาจจะได้ทำมันเอง.   (His greatest early proponent was probably Lord Keynes. John Maynard Keynes2. As he was for most of his life, who was in my opinion the greatest economist of the 20th century. And he wrote about this in the 1920s based upon the work of some others, I should say, who came shortly before him. But what he pointed was that the world is uncertain. And the difference between a certain world and an uncertain world is absolutely enormous. In a certain world, you know what all the outcomes to a decision that you might make are.)

2https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%AD%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%99_%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%94_%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%8C

พูดกันอีกอย่างอื่น, ถ้าคุณออกนอกบ้านไปในตอนกลางคืน, คุณรูถึงพิสัยเต็มที่ของความเป็นไปได้ทั้งหลายของสิ่งทั้งหลายที่อาจบังเกิดขึ้น. งั้นรึ? คุณเคยทำยังงั้นใช่มั้ย? แน่นอนว่าคุณไม่ได้ทำ. คุณอย่างง่ายที่จะไม่สามารถทำนายคาดเดาได้ว่าทุกอย่างหรือบางอย่าง ง่ายเท่าๆกับอะไรก็อาจบังเกิดขึ้นได้ถ้าคุณออกไปข้างนอกบ้านตอนกลางคืน. มีความไม่แน่นอน, สิ่งทั้งหลายที่เราอย่างง่ายๆไม่รู้. สิ่งที่ไม่รู้ได้ไม่รู้อย่างที่โดนัลด์ รัมสเฟลด์ ครั้งหนึ่งได้พูดคุยถึงและความไม่นอนทั้งหลายเหล่านั้นได้แปะติดกับพวกเขา เพราะว่าอย่างง่ายๆไม่รู้ไม่ว่าพวกนั้นจะดำรงมีอยู่หรือว่าพวกนั้นอาจบังเกิดขึ้น.  (In other words, if you go out to night, you know the full range of possibilities of the things that might happen. Do you? Have you ever? Of course you haven’t. You simply cannot predict everything on something as simple as what might happen if you go out tonight. There is uncertainty, things that we simply don’t know. The unknown unknowns that Donald Rumsfeld3 once talked about and those uncertainties cannot have a mathematical probability attached to them because we simply don’t know whether they exist or whether they might happen.)

3 https://en.wikipedia.org/wiki/Donald_Rumsfeld

 

และเช่นนั้นเอง, อะไรที่นั่นหม่ายถึงก็คือว่าเศรษฐศาสตร์ทั้งหมดของเรานั้นผิด เพราะว่ามันไม่รวมเอาความเป็นไปได้ที่ตัวไม่รู้อาจจะปรากฏขึ้นอยู่จริง. มันยังได้ไม่ยอมให้กับข้อจริงที่ว่าเรานั้นไม่มีเหตุผล, เรานั้นไม่คงเส้นคงวา, และนั่นคือเราที่จริงแล้วไม่ได้ประพฤติดังอะไรที่นักเศรษฐศาสตร์จะเรียกได้ว่า, อย่างล้อเล่นเล็กน้อย, โฮโม อีโคนีมุส -  มนุษย์/สัตว์เศรษฐกิจ, มนุษย์ที่มีเหตุผลผู้ซึ่งไม่ได้, แน่นอนละ, มีอยู่จริง.  (And so, what that means is that all our economics is wrong because it excludes possibility that the unknown might actually occur. It also doesn’t allow for the fact that we’re irrational, we’re inconsistent, and that we’re actually do not behave as what an economist will call, slightly jokingly, Homo economicus4, the rational human being who doesn’t, of course, exist.)

4 https://en.wikipedia.org/wiki/Homo_economicus

 

เมื่อใดที่คุณสามารถตัดสินใจได้ว่าบางอย่างเหมือนเช่นมนุษย์นั้นคือบางอย่างอื่นที่เป็นมากกว่าที่พวกเขาเป็นอย่างแท้จริงมีเหตุผลทั้ง ๆที่ไม่ควรมี, คุณก็สามารถทำสมมติฐานไร้สาระอื่นอีกมากมายได้เช่นกัน. ตัวอย่างเช่น, คุณสามารถสมมติว่าสภาวะนั้นเป็นข้อจำกัดกับพฤติกรรมของมนุษย์ และไม่น่าจะเป็นจริงๆถูกยินยอมให้รับหน้าที่กับกิจกรรมใด เพราะว่าทุกสิ่งมันได้เป็นสิ่งอันตรายต่อการอยู่ดีของเรา เพราะมันหยุดเราในการทพการเลือกทั้งหลายอย่างมีเหตุผล.  (Once you can decide that something like the human being is something other than they actually are rational when they aren’t, you can make lots of other absurd assumptions as well. For example, you can assume that the state is a constraint on human behavior and shouldn’t really be allowed to undertake any activity because everything it does is harmful to our well-being because it stops us making rational choices.)

แต่กับข้อเท็จก็คือว่าเราไม่ได้ทำการเฃือกทั้งหลายอย่างมีเหตุผล และเราอาจได้ทำบางอะไรเลวร้ายสุดๆบนพื้นฐานอยู่กับข้อมูลที่เรามี ซึ่งสภาวะนั้นสามารถที่จชดเชยให้ได้. และเพราะเช่นนั้นเอง, การมีสภาวะนั้นแท้จริงแล้วเป็นสิ่งที่ดี ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจเชิงเสรีนิยมใหม่ จะบอกเราว่ามันไปได้เป็นเช่นนั้น. (But the fact is that we don’t make rational choices and we might make some extremely bad choices based upon the information that we have which the state can compensate for. And therefore, having a state is actually a good thing even though neoliberal economics5 tells us it isn’t.)

5https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88

 

และทุกๆพรรคการเมืองกระแสหลักเดี่ยวในสหราชอาณาจักร และผมที่ทุกข์ยากอยู่ในกระแสหลักนี้ เชื่อว่าดังผลลัพธ์ที่เป็นขนาดของรัฐบาลนั้นควรจะถูกหดตัวลง. สมมติฐานนั่นผิดเพราะว่า พื้นฐานอยู่บนอะไรที่ข้อสรุปที่ไปถึงนั้นมันผิด. และก็ยังมีตัวอย่างอื่นที่ค่อนข้างไร้สาระภายในเศรษฐศาตร์จุลภาคของสิ่งทั้งหลายที่ได้สมมติขึ้นมา แต่ซึ่งอย่างแท้จริงแล้วไม่ได้เป็นความจริง.  (And every single mainstream political party in the UK and I stress mainstream believes that as a result the size of the government should be shrunk. That assumption is wrong because the basis on which that conclusion is reached is wrong. And there are other quite absurd examples inside microeconomics6 of things that are assumed but which actually aren’t true.)

6https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84

ตัวอย่างเช่น, เศรษฐศาสตร์มหภาคไม่คำนึงถึงการมีอยู่ของบริษัททั้งหลาย. มันไม่ได้สมมติว่าพวกนั้นมีอยู่หรือมีอำนาจหรือมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของเรา. มันสมมติเอาว่าปัจเจกบุคคลเดี่ยวนี้, มนุษย์/สัตว์เศรษฐกิจ, มนุษย์ผู้มีเหตุผลนี้ เป็นรูปลักษณ์หลักฐานเดียวที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ เมื่อชัดเจนอยู่ว่ามันไม่ใช่เช่นนั้น.  (For example, macroeconomics7 takes no consideration of the existence of companies. It doesn’t assume that they exist or have power or influence our behavior. It assumes that this singular person, homo economicus, this rational human being is the entity that drives the economy when clearly it doesn’t.)

7https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%84

ดังนั้น, เรามีแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ที่ไม่ได้อยู่บนพื้นฐานในรูปทรงหรือรูปแบบใดที่เป็นตามความจริง ไม่ว่าจะเกี่ยวกับรัฐบาลหรือเกี่ยวกับหนทางที่ตลาดทำงานในนั้น. เพราะเช่นนั้นเองจึงมีจุดบอดทางทฤษฎีอันลึกซึ้ง และผลลัพธ์ของมันก็ค่อนข้างสำคัญอย่างกะรุ่งกะริ่งดี. ตัวอย่างคือ, ทั้งปวงของนโยบายเศรษฐกิจแบบรัดเข็มขัด ได้ถูกตั้งอยู่บนแบบจำลองทั้งหลายอันผิดพลาด ดังที่ผมได้อธิบายไป. (So, we have an economic model that is not based in any shape or form on reality either about government or about the way in which markets work. There is therefore a profound theoretical blind spot inside economics and the result is well quite staggeringly important. For example, the whole of the economics of austerity8 was based upon the false models I’ve just explained.)

8 https://en.wikipedia.org/wiki/Austerity

มันสันนิษฐานได้ว่า ย่าจะเป็นรูปแบบทั้งหลายของพฤติกรรม ถ้ารัฐบาลได้พยายามที่จะหดตัวลดขนาดสถานะลง ซึ่งค่อนข้างตรงกันข้ามกับอะไรที่ได้บังเกิดขึ้นอย่างแท้จริง. และอีกครั้งหนึ่ง, ทฤษฎีเงินเฟ้อเป็นที่ผิดอย่างสูงสุด เพราะว่ามันเป็นสมมติในหนทางซึ่งธนาคารแห่งอังกฤษแสวงหามันที่ว่า การว่างงานและความเหลื่อมล้ำ นั้นไม่เป็นไร. และกระนั้นก็ยัง, มีหลักฐานเพียงพอจากการพูดคุยกับผู้คนจริงๆและการถามพวกเขาว่า อะไรเป็นลำดับความสำคัญต้นๆที่พวกเขาเกี่ยวข้องด้วยเป็นอย่างมากยิ่ง เกี่ยวกับการเสี่ยงชองการถูกไม่จ้างงาน และการเสี่ยงของความเหลื่อมล้ำ/ไม่เสมอภาคภายในเศรษฐกิจมากกว่า ที่พวกเขากำลังจัเจอภาวะเงินเฟ้อ. (It presumed that there would be certain forms of behavior if the government tried to shrink the size of state which were quite contrary to what actually happened. And again, inflation theory is totally wrong because it assumes in the way that the Bank of England pursue it that unemployment and inequality don’t matter. And yet, there’s ample evidence from talking to real people and asking them what their priorities are that they are much more concerned about the risk of being unemployed and the risk of inequality within the economy than they are about inflation.)

ดังนั้น, อีกครั้งที่ลำดับความสำคัญทั้งหลายทางเศรษฐศาสตร์นั้นผิดกันอย่างง่ายๆ เพราะว่ามันไม่ได้ถูกนำมาใช้ในการพิจารณาตัดสินใจต่อความเป็นจริงทั้งหลายของผู้ที่เราเป็นกันจริงๆ. เราไม่ได้ทำการตัดสินใจของเราบนพื้นฐานอย่างถูกต้องชัดเจน เพราะว่าเราไม่สามารถทำได้, เพราะว่าเรารู้ว่ามันไม่ได้มีอยู่. เราทำการตัดสินใจของเราบนพื้นฐานของมูลค่า/คุณค่าทั้งหลาย. นั่นคือจริยธรรมทั้งหลายของพวกเรา. อะไรที่เราคิดเอาเองว่าสำคัญ, อย่างมี่เราคิดว่าเราควรจะประพฤติ, อะไรที่เป็นการตัดสินในคุณธรรมล้ำเลิศของเรา, เป็นอะไรทั้งหลายอื่นอีกนั้น.   (So, once more the priorities of economics are simply wrong because it hasn’t taken into consideration the realities of who we really are. We don’t make our decisions on the basis certainty because we can’t, because we know it doesn’t exist. We make our decisions on the basis of values. That is our ethics. What we think is important, how we think we should behave, what our moral judgements are, and so on.)

เราก็ยังใช้แนวทางปฏิบัติแบบ ฮิวริสติคส์ด้วยเช่นกัน หรือดังที่พวกเขาเรียกกันธรรมดาๆสามัญกันมากกว่าว่า กฎของนิ้วหัวแม่มือ. สิ่งทั้งหลายหล่านั้นที่ให้เราเปลี่ยนพลิกข้อมูลอันสลับซับซ้อนมาก ไปเป็นบางอย่างที่เราสามารถเข้าใจได้ง่าย

 ตัวอย่างเช่น, เราสามารถมองดูที่ผลิตภัณฑ์ทั้งหลายทั้งหมดอันหลากหลาย, ทั้งหมดที่สามารถหาได้ในซูเปอร์มาร์เก็ต และนั่นอาจจะเป็น 30 หรือ 40ผลิตภัณฑ์ซึ่งอยู่ตรงหน้าของเรา, ทั้งหมดมองดูผ่านๆแล้วคล้ายกัน, แต่เราจะใช้อะไรที่เราเรียกว่าการประมาณอย่างหยาบๆเพื่อทำการตัดสินใจว่าอันไหนที่เราต้องการ. (We also use heuristics9 or as they’re more commonly rules of thumb10. Those things that let us turn very complex data into something that we can understand. For example, we can look at all the variety of products available in a supermarket and there might be 30 or 40 products in front of us, all looking broadly similar, but we will use what is call a heuristic to decide which one we want.)

9 https://en.wikipedia.org/wiki/Heuristic

10 https://en.wikipedia.org/wiki/Rule_of_thumb

เราอาจจะตัดสินใจเอาว่า ราคาที่สูงนั่นหมายความว่ามันเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดี. หรือเราอาจตัดสินใจว่าเราได้ชิ้นพิเศษเฉพาะนั้นมาอันหนึ่ง ก่อนที่เราได้ชอบมัน และเพราะเช่นนั้นเอง, เราก็จะไม่สนใจอันอื่นที่เหลือทั้งหมด. ไม่สำคัญว่ามันเป็นอะไร. ประเด็นนี้ก็คือเราได้ลดคสวามยุ่งยากของการตัดสินใจลง ในการทำบางรูปแบบของกฎในสถานการณ์นี้, เราสามารถใช้ที่จะเอาชนะความซับซ้อนที่ตลาดทั้งหลายได้นำเสนอต่อเราด้วย. มันอาจจะไม่เป็นเหตุผลนัก, แต่เราทำมันเพราะว่ามันใช้การได้ และนี้เป็นแตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากสมมติฐานที่นักเศรษฐศาสตร์ทำ.  (We might decide that a high price means it’s a good quality product. Or we might decide that we had that particular one before we liked it and therefore, we’ll ignore the rest. It doesn’t matter what it is. The point is we’ve reduced the difficulty of decision making to some form of rule in this situation, we can use to overcome the complexity which markets present us with. It may not be rational, but we do it because it works and this is entirely different from the assumption that an economist makes.)

          และท้ายที่สุด, เราใช้ maxims - คติพจน์ ที่จะนำทางพฤติกรรมของเรา, และเหล่านี้คือกฎทั้งหลายของผลิตภัณฑ์ที่ดี. มีอยู่สองตัวอย่างที่อาจช่วยได้ในที่นี้. หนึ่งของเหล่านี้คือไม่ควรทำร้ายใคร. อีกอันหนึ่งอื่นคือควรเป็นการรักต่อเพื่อนบ้านคุณดุจตัวคุณเอง. สิ่งเหล่านี้จัดหาให้เราซึ่งคำอธิบายของคุณค่า/มูลค่าทั้งหลายจองเรา ที่ยอมให้เราแปลความพวกมันเข้าไปสู่พฤติกรรมในความเป็นจริง.  (And finally, we use maxims11 to guide our behavior, and these are rules of good product. There are a couple of examples that might help here. One of these could be do no harm. Another one could be loving your neighbor as yourself. These things provide us with an interpretation of our values that lets us translate them into behavior in reality.)

            11 https://en.wikipedia.org/wiki/Cooperative_principle

          * https://medium.com/hbot/grices-maxims-%E0%B8%81%E0%B8%8F%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%99%E0%B8%B2-c23476355eb9

          นี้คืออย่างไรที่เราตัดสินใจจริงๆ และนี้คืออะไรที่เราทำในตรงหน้าความไม่แน่นอน. เราต้องมีรูปแบบจำลองทั้งหลายที่ยินยอมให้เราบริหารจัดการได้, แล้วเช่นนั้นในตรงหน้าของข้อมูลซึ่งมีท่วมท้นอยู่, เราสามารถที่จะคิดออกมาได้ด้วยการตัดสินใจอย่างแท้จริง ที่เราสามารถมีชีวิตและทำงานอยู่ด้วยได้. แต่นั่นไม่ได้เป็นหนทางใดที่ถูกสะท้อนอยู่ในเศรษฐศาสตร์ซึ่งเราได้ถูกสอนกัน หรือที่ชี้นำการเมือง หรือที่ชี้นำการคิดของการคลังสหราชอาณาจักร. (This is how we really decide and this is what we do in the face of uncertainty. We have to form models that let us manage, so that in the face of data which is overwhelming, we can come up with actual decision that we can live and work with. But that is not any way reflected in the economics that we are taught or which guides politics or which guides of thinking of the UK treasury.)

          ในตอนนี้, ในกรณีนั้น ทำไมเรายังคงพูดคุยกันถึงเรื่องเศรษฐศาสตร์อีกหรือ? ทำไมเราไม่แค่ละทิ้งความคิดทั้งปวงของเศรษฐศาสตร์นั่น และพูดกันถึงอะไรบางอย่างอื่น?  เอาละ, บางระดับวัดผมก็ทำการละทิ้งการถกเถียงเชิงเศรษฐศาสตร์นั้น เพราะว่าผมพูดถึงเศรษฐศาสตร์ทางการเมือง ที่เป็นในแง่ซึ่งแตกต่างไปจากเศรษฐศาสตร์ ในแง่มุมของที่ว่า มันยินยอมให้กับการมีอยู่ของอำนาจความสัมพันธ์ทั้งหลาย และอย่างไรที่พวกมันกำหนดตำแหน่งจัดวางแหล่งทรัพยากรทั้งหลายภายในเศรษฐกิจนั้น. (Now, in that case why do I still talk about economics? Why don’t I just abandon that whole idea of economics and talk about something else? Well, to some degree I do of course abandon discussion of economics because I talk about political economy which is different from economics in the sense of that it allows for the existence of power relationships and how they allocate resources within the economy.)

ดังนั้น, ตัวอย่างเช่น, ผมได้ยินยอมจริงๆให้กับการมีอยู่สำหรับการดำรงอยู่ของบริษัทขนาดใหญ่ทั้งหลายในหนทางมี่ผมคิด และในหนทางที่นักเศรษฐศาสตร์ไม่ทำ. แต่ด้วยเช่นกัน, อะไรที่ผมต้องการจะทำคือ ทวงคืนเศรษฐศาสตร์กลับมา, อำนาจก็การบริหารจัดการของการทำการตัดสินใจของเราเหนือเศรษฐกิจนั้น เพื่อว่ามันอาจจะรับใช้เราด้วยผลกำไรทั้งหลายที่ดีที่สุด มากไปกว่าทำร้ายสร้างความเจ็บปวดกับพวกมันอย่างที่เป็นกันอยู่ในตอนนี้.  (So, for example, I do allow for the existence of large companies in the way that I think and in the way that economists don’t. But also, what I want to do is reclaim economics, the power of management of our decision-making over the economy so that it might serve our best interests rather than harming them as it does now.)

นั่นคือเป้าหมายของผม. และการเข้าใจถึงว่าเศรษฐศาสตร์นั้นเป็นขยะ คือประเด็นแรกที่เราจำเป็นที่จะต้องไปถึงบนการเดินทางที่จะสร้างสรรค์เศรษฐศาสตร์ที่ดีกว่า. เมื่ออะไรที่เรามีคือการประมาณการแบบขยะต่อความสัจจริง. การมีบางอย่างที่ประมาณได้ดีกว่ามาก ว่าพฤติกรรมของมนุษย์นั้น คืออะไรที่เราจำเป็นต้องการ ถ้าเรากำลังที่จะให้ได้มาซึ่งเศรษฐกิจที่เราปรารถนา เพื่อที่จะทำให้โลกทำงานได้.  (That is my goal. And understanding that economics is crap is the first point that we need to reach on the journey to create a better economics. When what we have is a rubbish approximation to the truth. Having something that much better approximates that human behavior is what we need if we’re going to get the economics that we desire to make the world work.)

 https://youtu.be/dc1egz5Om90?si=eYv68dbCGiBlsSWQ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น